วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 15 วันที่27 กันยายน 2554

ในวันนี้เป็นวันสุดท้ายของการเรียนการสอน อาจารย์ให้ส่งแผนการจัดการเรียนการสอนและอาจารย์สรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนในวิชานี้

ความรู้ที่ได้รับจาก วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
-การสอนแบบโครงการ
-ความหมายวิทยาศาสตร์
-สื่อวิทยาศาสตร์
-ทักษะวิทยาศาสตร์
-ของเล่นวิทยาศาสตร์
-การเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
-การทำโครงการวิทยาศาสตร์
-การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
-การจัดนิทรรศการ
-การประเมินทางวิทยาศาสตร์
**การสังเกต เครื่องมือ : แบบประเมิน/แบบบันทึกการสังเกต
**สนทนา/ซักถาม เครื่องมือ : แบบสอบถาม/แบบบันทึก
**ผลงาน/ชิ้นงานของเด็ก

บันทึกครั้งที่ 14 วันที่20 กันยายน 2554

ในวันนี้อาจารย์ให้นำแผนมาส่งและแนะนำวิธีการเขียนแผนการจัดการเรียนการสอนอีก 1 ครั้ง
วัตถุประสงค์ มีลักษณะดังนี้
-บอกชื่อ
-บอกลักษณะ
-บอกส่วนประกอบ
เช่น..............
-บอกชื่อของกล้วยได้
-บอกลักษณะของกล้วยได้
-บอกส่วนประกอบของกล้วยได้

ประสบการณ์สำคัญ
-ทักษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการวัด
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสเปส
-ทักษะการคำนวน
เช่น................
-เด็กได้ใช้ทักษะการสังเกตจากประสาทสัมผัสทั้ง 5
-เด็กได้ใช้ทักษะการจำแนกประเภทของกล้วยชนิดเดียวกัน
-เด็กได้ใช้ทักษะการสื่อความหมายของกล้วย

สาระสำคัญ
-ชื่อเรื่องที่เราจะสอน
เช่น............
ลักษณะของกล้วย ( ลำต้นเขียว มีใบใหญ่ สีเขียว ) เป็นต้น

การจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
-คำคล้องจอง
-นิทาน
-ปริศนาคำทาย
ขั้นทำกิกรรม
-กิจกรรมที่ครูเตรียมไว้
ขั้นสรุป
-คำคล้องจอง
-สนทนา/ซักถาม

อาจารย์ได้ให้แบบฟอร์มการเขียนแผนและไปปรับแก้แผนมาส่งในสัปดาห์ต่อไป

ครั้งที่ 13 วันที่ 13 กันยายน 2554

ในวันนี้อาจารย์สอนการเขียนแผนวิทยาศาสตร์
สาระการเรียนรู้มาจาก เนื่อหา ดังนี้
-สิ่งที่อยู่รอบตัว
-เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
-บุคคลและสถานที่
-ธรรมชาติ

ประสบการณ์สำคัญ
-ร่างกาย
-อารมณ์-จิตใจ
-สังคม
-สติปัญญา
-ภาษา
-วิทยาศาสตร์
-คณิตศาสตร์

ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-ทีกษะการสังเกต
-ทักษะการจำแนก
-ทักษะการวัด
-ทักษะการสื่อความหมาย
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
-ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
-ทักษะการคำนวน

อาจารย์ได้เขียนแผนเรื่องของเห็นให้ดูเป็นตัวอย่าง
ให้งานเป็นเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์มาส่งกลุ่มละ 1 สัปดาห์

ครั้งที่ 12 วันที่6 เดือนกันยายน 2554

วันนี้อาจารย์ให้ดู vdo เรื่องมหัศจรรย์น้ำ
น้ำนั้นเป็นองคืประกอบสำคัญของมนุษย์เรา เมื่อคนเราเสียเหงื่อจากเหตุผลอะไรก็แล้วแต่จะทำให้ร่างกาย ของคนเรานั้น สูญเสียพลังงานในร่างกาย ทำให้เราอ่อนแรงได้ เพราะฉะนั้นคนเราจะต้องรับประทานน้ำอย่างต่ำวันละ 8 แก้ว ทดแทนการสูญเสียเหงื่อ
  • ทำให้ในร่างกายมีน้ำโดยประมาณ 70 %
  • ในผลไม้มีน้ำอยู่ดดยประมาณ 90 %
และอูฐสามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกินน้ำได้นานที่สุดประมาณ 10 วัน เพระอูฐนั้นสามารถเก็บไขมันที่อยู่ด้านหลังของมัน และไขมันนั้นสามารถน้ำมาเปลี่ยนแปลง เป็นน้ำหล่อเลี้ยงร่างกายของมันเอง
ขั้นตอนการสาธิตการทดลอง จาก ของแข็วเป็นของเหลว
การสาธิตการจมและการลอยตัวของวัตถุในน้ำ ที่ย่อมมีความแตกต่างกันออกไประหว่าง น้ำเปล่า กับน้ำเกลือ
มีดังนี้
  • เมื่อนำแครอทที่หั่นทิ้งไว้แล้วมา 1 ชิ้น นำลงไปใส่ในน้ำเปล่า ปรากกว่าแครอทนั้นจมลงไปอยู่ด้านล่างของน้ำเปล่า
  • เมื่อนำแครอทที่ได้หั่นไว้แล้วมาใส่ 1 ชิ้น นำลงไปในน้ำเกลือ ปรากฏว่าแครอทนั้นลอย ซึ่งต่างจากน้ำเปล่า ซึ่งนั้นเป็นเพราะว่าในน้ำเกลือนั้นมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำเปล่า สังเกตได้จากผลการทดลอง
การสาธิตการลอยตัวของเข็ม

เมื่อนำเข็มที่เตรียมไว้นั้นนำมาวางบนผิวน้ำปรากฏว่าเข็มนั้นลอยตัวอยู่บนผิวน้ำ เหตุเพราะว่า วัตถุที่มีขนาดเล็กและไม่มีน้ำหนักมากจะทำให้สามารถลอยตัวบนผิวน้ำได้


คัดลอกจาก ยุพา ประดับเพร็ช

ครั้งที่ 11 30 สิงหาคม 2554

นวันนี้ก่อนเข้าบทเรียนอาจารย์ อาจารย์ได้พูดถึงการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากกระดาษทิชชูว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างไร

แกนทิชชู
วิทยาศาสตร์ ดังนี้
-เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว
-ผลิตจากธรรมชาติ
-เปลี่ยนแปลงได้
-มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
**เป็นขยะ
**ใช้เยอะต้องตัดต้นไม้เยอะ
**สภาพแวดล้อม

อาจารย์ทบทวนการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการอีกครั้ง
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ
1.เริ่มโครงการ
-หาหัวข้อเรื่อง
**ให้เด็กเสนอ
-อยากรู้อะไร
**ถาม/ตอบ
-ทำอย่างไร
**สถานที่
**คน
**กิจกรรม
-ทบทวนประสบการณ์เดิม
**สนทนา

2.ดำเนินตามแผนการที่วางไว้และลงมือปฎิบัติ

3.สรุป/นำเสนอ
-หน้าที่
**อธิบาย
**ต้อนรับ
**จัดสถานที่
-คน
**เด็กผู้ดำเนินกิจกรรม
**ครูกำหนด
**ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
-สถานที่
**ในห้องเรียน
**นอกห้องเรียน

ครั้งที่ 10 23สิงหาคม 2554

ในวันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแบบโครงการ
การจัดกิจกรรม
ลงมือกระทำ
- ปฎิบัติจริงด้วยมือ
-ปฎิบัติจริงด้วยตา
-ปฎิบัติจิริงด้วยหู
-ปฎิบัติจริงด้วยลิ้น
-ปฎิบัติจริงจมูก

สร้างความคิดสร้งสรรค์
- ความคิดริเริ่ม
-ความคิดยืดหยุ่น
-ความคิดคล่องแคล่ว
-ความคิดละเอียดละออ

ลักษณะของกิจกรรม/หลักการจัดกิจกรรม
- วิธีการ
**สอดคล้องกับพัฒนาการ
**มีความหลากหลาย
-เนื้อหา
**สอดคล้องกับหน่วย
**เป็นเรื่องใกล้ตัว
-ลำดับขั้นตอน
**ขั้นนำ
**ขั้นสอน
**ขั้นสรุป

ตัวอย่าง การจัดการเรียนแบบโครงการ
เรื่องดอกไม้

ขั้นริเริ่ม
ครูถามถึงสิ่งที่เด็กๆอยากรู้เกี่ยวกับดอกไม้ โดยทำเป็นแผนผัง
-ส่วนประกอบของดอกไม้
-ดอกไม้มีกี่ชนิด
-มีสีอะไรบ้าง
-มีประโยชน์อย่างไร
-ขยายพันธุ์ด้วยวิธีใด
-มีวิธีการดูแลอย่างไร
-มีวิธีปลูกอย่างไร
-ดอกไม้มีพิษอย่างไร

ขั้นลงมือปฎิบัติ
การจัดกิจกรรม
-กิจกรรมเคลื่อนไหว
**แต่งเพลงเกี่ยวกับดอกไม้
-กิจกรรมเสริมประสบการณ์
**เชิญวิทยากรมาให้ความรู้
**พาไปดูสถานที่จริง
-กิจกรรมศิลปะ
**วาดรูปส่วนประกอบของดอกไม้
**พิมพ์ภาพ
-ประดิษฐ์ดอกไม้
-แต่งนิทานเรื่องดอกไม้
-ประกอบอาหาร
-กิจกรรมเล่นเสรี
**มุมประสบการณ์ที่เราจัด

ขั้นสรุป
การนำเสนอ
-นิทรรศการ
-เพลงที่แต่ง
-นิทานที่แต่ง

และอาจารย์ก็สรุปการจัดการเรียนการสอนแบบโครงการอีกครั้ง

ครั้งที่9 วันที่ 16 สิงหาคม 2554

ในวันนี้อาจารย์ให้นำงานประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ที่ให้ไปแก้มานำเสนอ และให้ดู VDO เรื่อง มหัศจรรย์ของแสงและจดข้อความรู้ที่ได้จากการดู VDO

ข้อความรู้ที่ได้
1.กล้องรูเข็ม
- เป็นกล่องทึบแสงที่ทำหน้าที่เหมือนห้องมืด ซึ่งจะมีรู้ค่อยรับแสงและเมื่อรูเปิดรับแสงด้วยระยะเวลาที่พอเหมาะแสงจากวัตถุฉายผ่านรูและตกบนแผ่นฟิล์มไวแสง ภาพที่ปรากฎบนแผ่นฟิล์มจะเป็นภาพกลับหัวของวัตถุ

2.วัตถุโปร่งแสง
- วัตถุที่แสงผ่านไปได้อย่างไม่เป็นระเบียบ จึงเกิดแสงที่กระจายของแสงในวัตถุ ทำให้ไม่สามาถมองเห็นที่อยู่อีกฝั่งหนึ่งไม่ชัดเจน

3.วัตถุโปร่งใส
- เป็นวัตถุที่แสงสามารถผ่านไปได้อย่างเป็นระเบียบ เมื่อเรานำไปกั้นแสงจะทำให้เห็นได้อย่างชัดเจน

4.วัตถุทึบแสง
- เป็นวัตถุที่แสงผ่านเข้าไปในวัตถุ และแสงไม่สามารถผ่านของมาจากวัตถุได้

วันที่ 9 สิงหาคม 2554

อาทิตย์นี้ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากสอบกลางภาค

ครั้งที่7 วันที่ 2 สิงหาคม 2554

อาจารย์ให้นำเสนอผลงานที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ฉันทำนกร้อง โดยที่ถ้าเราเหวี่ยงมันจะมีเสียงเหมือนนกร้อง แต่ในวันนั้นเกิดข้อผิดพลาดนิดหน่อย ทำให้นกของฉันไม่ร้อง

ครั้งที่ 6 26 กรกฏาคม 2554

ลักษณะของเด็กปฐมวัย
-วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น
-วัยที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาสูงที่สุด
-แสวงหาความรู้ความสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆตัว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศสตร์เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้
1.ความหมายของทักษะการสังเกต
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยมีจุดประสงค์เพื่อที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่งนั้น ๆ
-สังเกตรูปร่างทั่วไป
-สังเกตควบคู่กับการวัดปริมาณ
-การสังเกตเพื่อรู้ถถึงการเปลี่ยนแปลง
2.ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
ความสามารถในการแบ่งประเภทต่างๆ(โดยตั้งเกณฑ์การแบ่ง และนำสิ่งนั้นไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์)
-ความเหมือน
-ความแตกต่าง
-ความสัมพันธ์ร่วม 3.ความหมายทักษะการวัด
การใช้เครื่องมือวัดหรือหาปริมาณ โดยมีหน่วยกำกับ
แบบเป็นทางการ เช่น ไม้บรรทัด ตลับเมตร
แบบไม่เป็นทางการใช้สำหรับเด็กปฐมวัย เช่น ใช้แขน ขา มือ วัดความยาว
-รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
-การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
-วิธีการที่เราจะวัด
4.ความหมายทักษะการสื่อความหมาย

เป็นการสื่อสาร ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ เช่น การพูด การเขียน วาดรูป และแสดงท่าทางสีหน้า
-บรรยายความหมายและคุณสมบัติของวัตถุ
-บันทึกการเปลี่ยนแปลงได้
-บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ(ระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน)
-จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น แผนภาพ กราฟข้อมูล
5.ความหมายทักษะการลงความเห็นของข้อมูล
คือการสรุปจากที่เราจดบันทึกแล้วแสดงความคิดเห็นลงไปโดยอาศัยความรู้หรือประสบการณ์
6.ความหมายทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
คือการรู้จักเรียนรู้ 1 มิติ 2 มิติ 3 มิติ การบอกทิศทาง การบอกเงาที่เกิดจากภาพ 3 มิติการเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดขึ้นบนกระจกเงา การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย
7.ความหมายทักษะการคำนวณ
ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ การบวก การคูณ การหาร การนับจำนวนของวัตถุ การนำจำนวนตัวมากำหนดบอกลักษณะต่างๆ เช่น ความกว้าง ความยาว ความสูง พื้นที่ ปริมาตร น้ำหนัก
-การนับจำนวนของวัตถุ
-การบวก ลบ คูณ หาร

3.ความหมายทักษะการวัด

ครั้งที่5 วันที่19 เดือน 7 2554

  • อาจารย์ให้เพื่อนที่ยังไม่ได้นำเสนองานของอาทิตย์ที่แล้วมานำเสนอและหลังจากที่เพื่อนๆนำเสนอเสร็จอาจารย์ก็ได้พูดถึงโครงการ ลดละเลิกบุหรี่ ยาเสพติด
  • อาจาย์ก็ได้นัดให้มาทำกิจกรรมตัวอย่างของโทษบุหรี่ให้น้องๆๆสาธิตจันทรเกษมได้รู้ถึงโทษของบุหรี่
  • คัดลอกจาก ยุพา ประดับเพร็ช

ครั้งที่4 12 กรกฏาคม 2554

วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานกลุ่ม กลุ่มของดิฉันทำเกี่ยวกับเรื่องของสี แต่มีข้อผิดพลาดตรงที่กลุ่มเราไม่สามารถเชื่อมโฌยงให้เข้ากับวิทยาศาสตร์ได้ การนำเสนอเป็นไปอย่างวุ่นวาย เนื่องจากอุปกร์ที่เตรียวมาไม่เพียงพอ จึงทำให้เกิดปัญหานิดหน่อยวววววoวัว

บันทึกครั้งที่3 วันที่ 5 กรกฏาคม 2554

วันนี้อาจารย์ได้ให้ทุกกลุ่มออกมานำเสนอที่ไดรับมอบหมายไป แต่เมื่อออกไปนำเสนอของสามกลุ่มอาจารย์ก็ได้บอกว่าไม่ต้องนำเสนอและให้เข้ามานั่งที่เเละให้กลุ่มที่ไม่เสนองานด้วยpiotก็ให้กลุ่มอื่นออกมาจัดกิจจนหมดทุกกลุ่มเมื่อครบทุกกลุ่มแล้วอาจารย์ก็ได้บอกถึงสาเหตุที่อาจารย์สามกลุ่มมานั่งโดยไม่ต้องเสนอเพราะการเสนองานของสามกลุ่มเปนการเสนองานแบบเดิมๆๆอาจารย์เลยให้กับไปคิดวิธีการเสนองานเพื่อให้มาเสนอในสัปดาห์ต่อไป

บันทึกการเรียนครั้งที่2 มิถุนายน 2554


วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554
ในวันนี้อาจารย์ได้เปิดเพลงไอน้ำและได้ตั้งคำถาม 3คำถาม
1.ได้ข้อความรู้อย่างไร
2.เป็นวิทยาศาสตร์ตรงไหน
3.นำมาใช้ในการเรียนการสอนอย่างไร

1.ได้ข้อความรู้อย่างไร
- ไอน้ำลอยจากที่ต่ำขึ้นสู่ที่สูง
- การเปลี่ยนแปลงจากของเหลวหลายไปไอน้ำ
- ไอน้ำเกิดจากความร้อนจากดวงอาทิตย์
- คุณสมบัติของน้ำ
2.เป็นวิทยาศาสตร์ตรงไหน
- เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัว
- การเปลี่ยนแปลงจากของเหลวกลายเป็นไแน้ำ
- สามารถพิสูจน์ได้
- มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน

3.นำมาใช้ในการเรียนการสอนอย่างไร
- นำเนื้อเพลงนำไปใช้ในหน่วยการเรียนได้
- เป็นสื่อการเรียนการสอน
- นำเพลงมาเป็นสื่อในการนำเข้าเรียนกิจกรรม

หลังจากนั้นอาจารย์ก็เริ่มเข้าสู่บทเรียน ดังนี้

วิทยาศาสตร์ คือ
- เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้
- เป็นสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา
- เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เป็นสิ่งที่มนุษย์หรือธรรมชาติสร้างขึ้น

ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
- ใช้ในชีวิตประจำวัน
- ใช้ในการสร้างอาชีพ
- ทำให้ชีวิตสะดวกสบายมากขึ้น
- รู้ถึงเหตุการณ์ล่วงหน้า เช่นการพยากรณ์อากาศ
- ทำให้เกิดความสมดุล


ในสัปดาห์นี้อาจารย์ได้สั่งการบ้าน ให้ไปทำงานกลุ่ม มีหัวข้อ ดังนี้
- จิตวิทยาการเรียนรู้
- แนวคิดนักการศึกษา
- หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
- กิจกรรมวิทยาศาสตร์
- ของเล่นวิทยาศาสตร์
- ตัวอย่างสื่อวิทยาศาสตร์

วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่1 วันที่21 มิถุนายน 2554

อาจารพูดถึงเรื่องการทำบล็อก และวิธีสร้างบล็อกที่ถูกต้อง ต้องมีอะไรบ้าง และถามเกี่ยวกับเรื่องของวิทยาศาสตร์ ว่าในชีวิตของเรามีอะไรที่เป็นวิทยาศาสตร์บ้าง ทุกคนเงีบยเลยค่ะ และอาจารย์ก็ยิงคำถามมาอีกว่า ตื่นนอนขึ้นมาเราได้ยินเสียงอะไรเป็นอย่างแรก